พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ.2550
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ.2550
ทำไมต้องมี พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550
เพราะคอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน
และมีการใช้คอมพิวเตอร์โดยมิชอบ ซึ่งส่งผลเสียต่อบุคคลอื่น นอกจากนี้ยีงมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นเท็จหรือลามกอนาจาร
ดังนั้นจึงต้องมีมาตรการควบคุมการใช้คอมพิวเตอร์
ลักษณะการกระทำความผิดตาม พรบ.
คอมพิวเตอร์ 2550
ตัวอย่าง....
1. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
2. การเปิดเผยข้อมูลมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ
3. การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ
การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น การทำให้เสียหาย
ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ
4. การกระทำเพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
5. การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น
6. การจำหน่ายชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด
7. การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำความผิดอื่น
ซึ่งผู้ให้บริการจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำ
ความผิด
8. การตกแต่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นภาพของบุคคลเหล่านี้
เจตนารมณ์ของกฎหมาย พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
เพื่อกำหนด.....
ฐานความผิดและบทลงโทษ
อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
หน้าที่ของผู้ให้บริการ
มาตรา ๕ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์
มาตรา ๖
การล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง
มาตรา ๗ การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา ๘ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
มาตรา ๙ การแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑๐ การรบกวน ขัดขวาง
ระบบคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ (Spam Mail)
มาตรา ๑๒ การกระทำความผิดต่อ
ประชาชนโดยทั่วไป / ความมั่นคง
มาตรา ๑๓
การจำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด
มาตรา ๑๔ นำเข้า ปลอม/ เท็จ
/ภัยมั่นคง /ลามก/ ส่งต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
มาตรา ๑๕ ความรับผิดของผู้ให้บริการมาตรา
๑๖ การเผยแพร่ภาพ ตัดต่อ/ดัดแปลง
หมวดที่ ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๘
อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่มาตรา ๑๙ ข้อจำกัด/การตรวจสอบการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๒๐ การใช้อำนาจในการ block เว็บไซต์ที่มีเนื้อหากระทบต่อความมั่นคงหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย
มาตรา ๒๑
การเผยแพร่/จำหน่ายชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์
มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเผยแพร่ข้อมูลที่ได้มาตามมาตรา
๑๘
มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่ประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูล
มาตรา ๒๔ ความรับผิดของผู้ล่วงรู้ข้อมูลที่พนักงาน
เจ้าหน้าที่ได้มาตามมาตรา ๑๘
มาตรา ๒๕ ห้ามมิให้รับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ
มาตรา ๒๖ ถึง ๒๗ หน้าที่ผู้ให้บริการในการเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์และความรับผิด
หากไม่ปฏิบัติตามหน้าที่
มาตรา ๒๘
การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๒๙ การรับคำร้องทุกข์กล่าวโทษ
จับ ควบคุม ค้น & การกำหนดระเบียบ/แนวทางและวิธีปฏิบัติ
มาตรา ๓๐ การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
แหล่งที่มา : http://www.thaiall.com/article/law.htm
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น